ในการถ่ายภาพ หลายครั้งที่ช่างภาพได้แสงสวย ซับเจคเด่น ใช้อุปกรณ์ดี แต่ภาพถ่ายกลับไม่โดดเด่น ไม่สามารถดึงดูดความสนใจของผู้
สิ่งสำคัญที่ต้องใส่ใจให้
4 วิธีจัดองค์ประกอบนี้เป็นวิธีพื้นฐาน นำไปใช้งานง่าย ประยุกต์ใช้ได้กับการถ่ายภาพทุกประเภท แต่ให้ภาพที่สวยงาม โดดเด่น ดึงดูดสายตาผู้ชมได้มากกว่า ตามไปชมกันเลยครับ
1. การใช้กรอบซ้อนกรอบ
การใช้กรอบภาพตามธรรมชาติซ้ อนกรอบภาพ จะช่วยเสริมความโดดเด่นให้ซั บเจคในภาพได้ดีขึ้น ช่วยกระตุ้นให้สายตาผู้ชมภาพมุ่ งไปยังจุดเด่น หรือซับเจคหลักในภาพได้รวดเร็ว และชัดเจนมากขึ้น
.
ภาพตัวอย่างนี้ ผนังถ้ำน้ำแข็งสีโทนมืดเป็ นกรอบภาพกรอบที่หนึ่งช่วยดึงดู ดความสนใจของสายตาผู้ชมไปยังซั บเจคหลัก คือนักสกีที่ยืนอยู่ตรงปากถ้ำ กรอบภาพกรอบที่สองคือปลายทางที่ เป็นโทนสว่าง ทั้งสองกรอบนี้ช่วยส่งให้ สายตาผู้ชมมุ่งไปที่ซับเจคหลัก และเพิ่มความน่าสนใจให้ภาพไดั เป็นอย่างดี
2. วางซับเจคไว้ด้านล่าง เพิ่มพื้นที่ว่างให้ภาพถ่าย
ป็นอีกหนึ่งการจัดองค์ ประกอบที่นำเรื่องของพื้นที่ หรือสัดส่วนของภาพถ่ายมาช่วยเพิ่ มจุดเด่นให้ภาพ ในข้อแรกจะเป็นการใช้ระยะความลึ กของภาพ แต่ในข้อนี้จะเน้นไปที่การเว้ นพื้นที่ว่างในภาพและวางซั บเจคหลักไว้ในพื้นที่ประมาณ 1 ส่วน 3 ของภาพถ่าย ส่วนที่เหลือทิ้งไว้เป็นพื้นที่ โล่ง
.
จากภาพประกอบนี้ ซับเจคคือคนปั่นจักรยานที่ถู กวางไว้มุมซ้ายล่างของภาพ ส่วนที่เหลือปล่อยเป็นพื้นที่ว่ าง ช่วยสื่อความหมายถึงความกว้ างใหญ่ของท้องฟ้า เพิ่มเรื่องราวให้ภาพถ่าย แนะนำให้ใช้เลนส์มุมกว้าง หรือเลนส์ซูมมุมกว้างในการจั ดองค์ประกอบแบบนี้
3. มิติของภาพ
ภาพถ่ายที่ดี คือภาพถ่ายที่สามารถถ่ ายทอดภาพออกมาได้ครบทุกมิติ แม้ว่าในความเป็นจริงภาพถ่ ายสามารถแสดงภาพเพียงสองมิติ
.
มิติของภาพสามารถสร้างได้ด้ วยการจัดองค์ประกอบให้ภาพดูมี ความลึก หรือมีมิติแต่ละชั้นด้วยการใช้ องค์ประกอบหลายๆส่วนมารวมอยู่ ในภาพเดียว จากภาพตัวอย่างนี้มีฉากหน้าเป็นทุ่งหญ้า ถัดไปเป็นแนวรั้วที่ทอดยาว อีกชั้นเป็นเนินเขาสูง จบด้วย layer สุดท้ายคือท้องฟ้าด้านบนสุ ดของภาพ ภาพลักษณะนี้สื่ อความหมายให้ภาพดูมีมิติ ไม่แบน เพิ่มความน่าสนใจให้ภาพได้
4. จังหวะความเคลื่อนไหวในภาพถ่าย
การจับจังหวะความเคลื่ อนไหวของซับเจคในภาพ ช่วยส่งให้ซับเจคมีความน่ าสนใจมากขึ้น ช่วยเพิ่มเรื่องราวในภาพ ทำได้สองวิธีคือ ใช้ความเร็วช้ตเตอร์ต่ำ เพื่อเบลอซับเจค หรือ ให้ภาพดูมีความเคลื่อนไหว เช่น การถ่ายไฟรถลากเป็นเส้นแสงยาวๆ หรือการแพนกล้อง และอีกวิธีคือใช้ความเร็วชั ตเตอร์สูงเพื่อหยุดความเคลื่ อนไหวของซับเจค
.
ภาพตัวอย่างนี้ ช่างภาพเลือกใช้ความเร็วชั ตเตอร์สูงเพื่อจับจั งหวะการกระโดดของผู้ชายในภาพให้ นิ่งสนิทในตำแหน่งที่กำลั งกระโดดข้ามรั้วพอดี โดยเว้นช่องว่างทางขวามือไว้เพื่ อเพิ่มเรื่องราวให้ผู้ชมได้คิ ดต่อได้ เป็นการช่วยเพิ่มความน่าสนใจให้ ภาพได้เป็นอย่างดี
Bonus : เพิ่มเงาลงในภาพ
การเพิ่มเงาลงไปในภาพถ่าย ก็เป็นอีกการจัดองค์ประกอบภาพที่ น่านำมาใช้ เพราะช่วยเพิ่มความลึก เพิ่มมิติและความน่าสนให้ภาพถ่ ายได้
.
ภาพตัวอย่างที่ถ่ายในมุมมองนี้ ภาพจะดูแบน แต่เงาของซับเจคหลักที่ ทอดยาวออกมา ช่วยให้ภาพดูมีมิติ และพื้นหลังที่เป็นเส้นแนวทแยงตัดกั บทิศทางของเงา ยังช่วยให้ซับเจคมีความโดดเด่ นเพิ่มขึ้นอีกด้วย